วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

เรื่องที่คนไทย ต้องรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชทรัพย์


เรื่องที่คนไทย ต้องรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ 
**ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ถือเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน 
ไม่ใช่ทรัพย์สินของส่วนพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและได้รับการยกเว้นไม่ต้องเสียภาษ ีอย่างถูกต้องตามกฎหมายบริหารงานในรูปแบบองค์กรนิติบุคคลภายใต้ ชื่อ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ทรัพย์สินส่วนใหญ่ ได้แก่ ที่ดินและหุ้น
โดยปัจจุบันมีผู้เช่าที่ดินทั่ว ประเทศมากกว่า หมื่นสัญญาโดยแปลงสำคัญ ๆ ประกอบด้วย
ที่ดินโรงแรมโฟร์ซีซั่น
ที่ดินสยามพารากอน
ที่ดินเซ็นทรัลเวิลด์พลาซ่า
ที่ดินองค์การสะพานปลา และ ที่ดินริมถนนพระรามที่ ฝั่งเหนือ จากสวนลุมไนท์บาร์ซาร์ ยาวจรด ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ ์

ทั้งนี้บริษัทซีบีริชาร์ดเอลลิส  บริษัทโบรกเกอร์ด้านอสังหาริมทร ัพย์รายใหญ่ของโลก ได้เคยประมาณการตัวเลขพื้นที่ที ่อยู่ในการดูแลของสำนักงานทรัพย ์สินฯ อยู่ที่ 32,500 ไร่ (13,000เอเคอร์) โดยในบางพื้นที่มีมูลค่าสูงกว่า  380 ล้านบาทต่อไร่

ทั้งนี้ สำนักงานทรัพย์สินฯ ยังได้ลงทุนในหุ้นของบริษัทต่าง  ๆ อีกด้วย โดยถ้านับรวมทั้งหมด หุ้นที่สำนักงานทรัพย์สินฯ มีอยู่ทั้งหมด
คิดเป็น 7.5% ของมูลค่าตลาดรวมของตลาดหุ้นไทย
  ทำให้พระองค์ทรงได้รับการจัด อัน ดับจากนิตยสาร Forbes ให้เป็นหนึ่งในกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก

อย่างไรก็ตาม สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้ชี้แจงถึงกรณีนี้ว่า "บทความดังกล่าวมีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจากว่า
 ทรัพย์สินที่บทความนำมาประเมินน ั้น ในความเป็นจริง มิใช่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ แต่เป็นของแผ่นดิน!!!!

ซึ่งเป็นไปในทำนองเดียวกันกับพร ะมหากษัตริย์ในประเทศอื่น ที่บทความเดียวกันนี้
ไม่ได้จัดอันดับฐานะความร่ำรวย เพราะทรัพย์สินต่าง ๆ ไม่ใช่ของกษัตริย์ หากแต่เป็นของคนทั้งชาติ"


***ทรัพย์สินส
วนพระองค์

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงมีการลงทุนส่วนพระองค์เอง  โดยไม่ผ่านสำนักงานทรัพย์สินฯ โดยการเป็นผู้ถือหุ้น
บริษัท สัมมากร จำกัด (มหาชน) 43.87%
บริษัท ไทยประกันภัย จำกัด (มหาชน) 18.56%
บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) 2.04%เป็นต้น

ทรัพย์สินส่วนพระองค์นี้ยังหมาย รวมถึง เงินทูลเกล้าถวายฯ ตามพระราชอัธยาศัยต่างๆ

ซึ่งทรัพย์สินส่วนพระองค์นั้นไม ่ได้รับการยกเว้นเรื่องภาษี!!!

และต้องเสียภาษีอากรตามปกติ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น